Mind Mapping
ผังความคิด (WEB) เชื่อมโยงหน่วย “เด็กอ้วน”กับเป้าหมายกลุ่มสาระวิชา
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
คำถามหลัก (Big Question): ความอ้วนส่งผลอย่างไรต่อคุณภาพการเรียนรู้ของเด็ก?
ภูมิหลังของปัญหา
จากข้อมูลของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข เกี่ยวกับสัดส่วนเด็กไทยที่มีแนวโน้มสู่ภาวะเป็นเด็กอ้วนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา พบว่าในปี 2558 เด็กก่อนวัยเรียนในประเทศไทยจะกลายเป็นเด็กอ้วนในสัดส่วนที่สูงขึ้น
เทียบระหว่างเด็กอ้วนและเด็กธรรมดาคิดเป็น 1 ใน 5 ส่วนเด็กในวัยเรียนจะมีสัดส่วนของเด็กอ้วนที่เท่ากัน โดยเฉพาะเด็กในเมืองจะอ้วนร้อยละ
20-25 ทั้งหมดนี้นับเป็นอุบัติการณ์โรคอ้วน ในเด็กไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
จากสถิติดังกล่าวชี้ได้ว่าไทยเป็นประเทศที่มีอัตราโรคอ้วนในเด็กเร็วที่สุดในโลก
เฉพาะระยะ 5 ปีที่ผ่านมาเด็กก่อนวัยเรียนอ้วนเพิ่ม 36%
และเด็กวัยเรียน 6-13 ปี อ้วนเพิ่มขึ้น 15.5% หากเรายังปล่อยให้สถานการณ์นี้ดำเนินต่อไปโดยไม่มีการควบคุม
เด็กเหล่านี้จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่อ้วนถึงร้อยละ 80 ปัญหานี้เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก
ที่บริโภคอาหารไม่มีประโยชน์ พฤติกรรมการบริโภคของเด็กส่งผลถึงประสิทธิภาพในการเรียน
สติปัญญา และคุณภาพพลเมืองในอนาคต ซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องเร่งให้ความรู้แก่เด็กเพื่อปรับปรุงพฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสม
เช่น การเลือกรับประทานอาหารที่สะอาดและมีคุณภาพ การออกกำลังกาย
จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นจึงทำให้พี่ป.4มีความสนใจที่จะเรียนในหน่วย “เด็กอ้วน”เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองให้เหมาะสมและการออกกำลังกายอย่างถูกวิธีเพื่อสุขภาพที่แข็งแรงสมวัยและคุณภาพการเป็นพลเมืองที่ดีในอนาคต
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “กินอย่างไรกายปลอดภัยใจเป็นสุข” ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1/2559
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
1. สร้างฉันทะ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์
- Mind Mapping ก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็น
หรือเรื่อง สถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาที่อยากแก้ไขตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.4/1)
- สามารถออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
การศึกษาค้นคว้าเสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้าได้
(ว 8.1 ป.4/2)
- สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไขได้
(ว 8.1 ป.4/5) - เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นนำเสนอและให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องหรือหัวข้อที่ตน เองสนใจได้ (ว 8.1 ป.4/5)
-
นำเสนอผลงานการเขียนสรุปปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้และปฏิทินให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว
8.1 ป.4/8)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมได้ (ส 2.1 ป.4/2)
- สามารถนำเสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างการเรียน
การทำกิจกรรมและใช้ในชีวิตประจำวันได้
(ส 2.1 ป.4/5)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถนับช่วง
เวลาเป็นศตวรรษและสหัสวรรษและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (ส 4.1 ป.4/1)
-
เข้าใจและสามารถอธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติความเป็นมาของมนุษย์กับปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้
(ส 4.1 ป.4/2) |
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
(ง 1.1 ป.4/1-2)
- สามารถปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1 ป.4/3)
- อธิบายการใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง 1.1 ป.4/4)
|
มาตรฐาน พ 2.1
สามารถแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
(พ 2.1 ป.4/2)
มาตรฐาน พ 4.1
เข้าใจและสามารถอธิบายสภาวะอารมณ์ของคนที่อยู่ในยุคสมัยต่างๆที่มีผลต่อการดำรงชีวิตได้
(พ 4.1 ป.4/5) |
มาตรฐาน ศ 1.1
-
สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและ
สีวรรณะเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ของมนุษย์ผ่านการวาดตกแต่งผลงานได้
(ศ 1.1 ป.4/2/3)
-
เข้าใจทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ งานวาดภาพระบายสีได้
(ศ 1.1 ป.4/5)
|
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
2. โครงสร้าง
หน้าที่และการทำงานของร่างกาย
(มนุษย์,พืช และสัตว์)
1. ภายใน - ระบบย่อยอาหาร - ระบบหายใจ - ระบบขับถ่าย
- ระบบโครงกระดูก
- ระบบสืบพันธุ์
ฯลฯ
2. ภายนอก
- ผิวหนัง
- มือ
- เท้า
- แขน - ปาก - ตา
- หู
ฯลฯ
|
มาตรฐาน ว 1.1
- ทดลองการคายน้ำของพืช
และอธิบายหนาที่ของทอลําเลียงและ ปากใบของพืชได้ (ว 1.1 ป.4/1)
- อธิบายนำแกสคารบอนไดออกไซดแสงและคลอโรฟลล เปน
ปจจัยที่จําเปนบางประการตอการเจริญเติบโตและการสังเคราะหดวยแสงของพืช (ว 8.1 ป.4/2)
-
สังเกตและระบุส่วนประกอบของโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับสายพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์ได้
(ว 8.1 ป.5/1)
- อธิบายการทำงาน
ที่สัมพันธ์กันของระบบย่อยอาหาร
ระบบหายใจ และระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
(ว 8.1 ป.6/2)
มาตรฐาน ว 1.2
- อธิบายการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์สิ่งมีชีวิตในแต่ละรุ่น(ว
1.2 ป.5/2)
- จำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบางลักษณะและลักษณะภายนอก
เป็นเกณฑ์
(ว 1.2 ป.5/5)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้างมนุษย์และสิ่งมีชีวิตที่จะศึกษาตามที่กำหนด
ให้ และตามความสนใจ (ว 8.1 ป.4/1)
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณ
นำเสนอ ผลสรุปผลสนใจ
(ว 8.1 ป.4/4)
- แสดงความคิดเห็น
และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
และสนใจเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้างมนุษย์และสิ่งมีชีวิต
(ว 8.1 ป.4/6)
- นำเสนอ จัด
แสดงผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา
หรือเขียนอธิบายกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ป.4/8) |
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่นจากการนำเสนองานโครงสร้างภายใน/ภายนอกของคนและพืชและสัตว์ได้
(ส 1.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 2.1
- ปฏิบัติตน
ในการ เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
(ส 2.1 ป.4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน
(ส 2.1 ป.4/5) |
มาตรฐาน ส 4.1
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล
( ส 4.1 ป. 5 / 2)
มาตรฐาน ส 4.2
อธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์และสัตว์ได้
(ส 4.2 ป. 4/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน
ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์
(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากร
ในการทำงาน
อย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2)
- ใช้ทักษะ
การจัดการในการทำงานและทักษะการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ป.6/2)
มาตรฐาน ง 3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจและ
เป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์ (ง 3.1 ป.5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- อธิบายการเจริญเติบ
โตและพัฒนาการ
ของร่างกาย
(พ 1.1 ป.4/1)
- อธิบายความสำคัญ
ของกล้ามเนื้อกระดูกและข้อที่มีผลต่อสุขภาพ
(พ 1.1 ป.4/2)
- อธิบายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ให้ทำงานอย่างมีประสิทธิ ภาพ
(พ 1.1 ป.4/3)
- อธิบายความสำคัญ
ของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพ (ป.5/1)
- อธิบายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทำงานตามปกติ(พ 1.1 ป.5/2)
- อธิบายความ
สำคัญของระบบสืบพันธุ์ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ ที่มีผลต่อสุขภาพ
(พ 1.1 ป.6/1)
- อธิบายวิธีการดูแลระบบสืบพันธุ์
ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทำงานตามปกติ
(พ 1.1 ป.6/2) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสีโครงสร้างของมนุษย์พืชและสัตว์
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7)
มาตรฐาน ศ 2.1
ใช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรมในการแสดงออกตามจินตนาการ (ศ 2.1 ป5/7) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
3. โรคที่มาจากการอ้วน
- โรคหัวใจและหลอดเลือด - โรคมะเร็งในเด็ก - ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ |
มาตรฐาน ว 8.1
- แสดงความคิดเห็น
และสามารถสรุปโรคที่เกิดจาการอ้วนได้
(ว 8.1 ป.4/6)
- นำเสนอโรคที่เกิดจากการอ้วนผ่านบทบาทสมมุติเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ป.4/8) |
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่นจากการแสดงบทบาทสมมุติ
(ส 1.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 2.1
- ปฏิบัติตนในการ
เป็นผู้นำและผู้ตาม ที่ดี (ส 2.1 ป.4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่อย่างปลอดภัยในชีวิตประจำวันได้
(ส 2.1 ป.4/5) |
มาตรฐาน ส 4.1
รวบรวมข้อมูลจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อตอบคำถามสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคอ้วนได้
( ส 4.1 ป. 5/1) |
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน
ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน พ 4.1
- สามารถอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพได้
(พ 4.1 ป.4/1) - สามารถอธิบาย สุขภาวะอารมณ์ความรู้สึกที่มีผลต่อสุขภาพได้ (พ 4.1 ป.4/2) มาตรฐาน พ 5.1 อธิบายความสำคัญของการใช้ยาและการใช้ยาอย่างถูกวิธีเพื่อดูแลรักษาสุขภาพของตนเองได้ (พ 5.1 ป.5/1) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสีโครงสร้างของมนุษย์พืชและสัตว์
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
4. อาหารสุขภาพ
- อาหารหลัก 5 หมู่ - ทดสอบสารอาหาร - การประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ |
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับการทดสอบสารอาหารได้
(ว 8.1 ป.4/1) - แสดงความคิดเห็น และสามารถสรุปอาหารหลัก 5 หมู่ได้ (ว 8.1 ป.4/6)
- นำเสนอโรคที่เกิดจากการอ้วนผ่านบทบาทสมมุติเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ป.4/8) |
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่นจากการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพให้ผู้อื่นได้รับประทาน
(ส 1.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 2.1
- ปฏิบัติตนในการ
เป็นผู้นำและผู้ตาม ที่ดีในการร่วมประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ (ส 2.1 ป.4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่อย่างปลอดภัยในชีวิตประจำวันได้
(ส 2.1 ป.4/5) |
มาตรฐาน ส 4.3
อธิบายภูมิปัญญาไทยที่สำคัญในการผลิตอาหารเพื่อสุขภาพได้
( ส 4.3 ป. 4 / 3) |
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน
ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน พ 4.1
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อการเลือกบริโภคได้ (พ 4.1 ป.4/3) - สามารถค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีได้ (พ 4.1 ป.5/2) มาตรฐาน พ 5.1 สามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากการประกอบอาหารได้ (พ 5.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสีโครงสร้างของมนุษย์พืชและสัตว์
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7) |
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน
(3 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
5. การดูสุขภาวะของตัวเราและการรู้เท่าทันสื่อโฆษณา
|
มาตรฐาน ว 8.1
-
สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยสำหรับตนเองได้
(ว 8.1 ป.4/1) - แสดงความคิดเห็น และสามารถสรุปการดูแลสุขภาวะของตนเองในชีวิตประจำวันได้ (ว 8.1 ป.4/6)
- นำเสนอแผนการดูแลสุขภาวะของตนเองเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ป.4/8) |
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่นจากการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพให้ผู้อื่นได้รับประทาน
(ส 1.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 2.1
- ปฏิบัติตนในการ
เป็นผู้นำและผู้ตาม ที่ดีในการร่วมประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ (ส 2.1 ป.4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่อย่างปลอดภัยในชีวิตประจำวันได้
(ส 2.1 ป.4/5) |
มาตรฐาน ส 4.1
รวบรวมข้อมูลจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
เพื่อให้รู้เท่าทันกับสื่อโฆษณาที่หลากหลายในปัจจุบัน
( ส 4.1 ป. 5/1) |
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน
ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน พ 4.1
- สามารถทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายและออกแบบการดูแลสุขภาวะของตนเองได้ (พ 4.1 ป.4/4) - สามารถค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีได้ (พ 4.1 ป.5/2) - สามารถวิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล (พ 4.1 ป.5/3) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสีโครงสร้างของมนุษย์พืชและสัตว์
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
6. สรุปการเรียนรู้
- วิเคราะห์สิ่งที่อยากเรียนรู้
- สิ่งที่ดีแล้ว
สิ่งที่ควรปรับปรุง
- Mind Mapping หลังเรียนรู้
- นำเสนอการเรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์
ตั้งคำถามและหาคำตอบเกี่ยวกับน้ำในปัจจุบันและอนาคตผ่านการทำชิ้นงานแผนภาพ
ความคิดและการแสดงแล้วนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่ตนเองศึกษา
(ว 8.1 ป.4/1)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม
และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้พร้อมทั้งระบุสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่
ควรปรับปรุงในการเรียนรู้ได้
(ว 8.1 ป.4/4-6)
-
บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ โดยสรุปเป็นMind Mapping หรือคำอธิบาย
แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ป.4/7-8) |
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมและให้กำลังใจเมื่อเพื่อนหรือสมาชิกกระทำสิ่งที่เหมาะสมอย่างจริงใจ
(ส 1.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานร่วมกับผู้อื่นตามหน้าที่ของตน
(ส 1.2 ป.4/1) |
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
เรื่องน้ำที่มีผลต่อการใช้ชีวิตในชุมชน (ส 4.2 ป. 4/2)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของวัฒนธรรมชุมชนที่เกี่ยวข้องกับน้ำในอดีตและปัจจุบัน
(ส 4.2 ป.4/3) |
มาตรฐาน ง 1.1
ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 ป. 4/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ง 2.1 ป.4/4) |
มาตรฐาน พ 2.1
-
ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการวางแผนสรุปการเรียนรู้
(พ 2.1 ป. 4/1)
-
ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเรียน การทำงาน
รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 ป. 4/2) |
มาตรฐาน ศ 1.1
สามารถสร้างสรรค์ผลงานและออกแบบฉากประกอบการแสดงได้
(ศ 1.1 ป.4/7)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถร้องเพลงประกอบการแสดงสรุปการเรียนรู้
พร้อมทั้งเคลื่อนไหวท่าทางได้เหมาะสมสอดคล้องกับเพลงที่ร้อง (ศ 2.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ศ 3.1
มีมารยาทในการเป็นผู้ชมและผู้แสดงที่เหมาะสม
(ศ 3.1 ป.4/5) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5 ป.4/10)
|
ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL หน่วย: “กินอย่างไรกายปลอดภัยใจเป็นสุข”
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 (Quarter 1) ปีการศึกษา 2559
เป้าหมายรายสัปดาห์ :
เข้า ใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบายพร้อมกับตั้งคำถาม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจ
และเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ : เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Question :
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Think Pair Share
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เรื่องเล่าในช่วงปิดเรียนจากครูและนักเรียน
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
|
- ครูและนักเรียนทักทายกัน
โดยสร้างปฏิสัมพันธ์ในแนวราบ
- ครูสร้างแรงบันดาลใจด้วยการให้ดูคลิป
VDO สัตว์โลกอ้วนกลม:
นักเรียนเห็นอะไรบ้าง/เพราะอะไรจึงเป็นอย่างนั้น/แล้วถ้าเป็นตัวเราจะทำอย่างไร?
- นักเรียนทำแบบทดสอบร่างกายของตัวเอง โดยการชั่งน้ำหนักตัว วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เปรียบเทียบมาตรฐานน้ำหนักกับส่วนสูง:ร่างกายของเราเป็นอย่างไร/นักเรียนคิดเห็นอย่างไรกับร่างกายของตนเองในขณะนี้(ประเมินสภาพร่างกายด้วยตนเอง) - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : รอบเอวและน้ำหนักตัวที่มากมีผลอย่างไรกับตัวเรา/นักเรียนจะทำอย่างไรต่อไป - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม:จากปัญหาที่นักเรียนประสบอยู่นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเพื่อทำความเข้าใจแล้วนำมาแก้ไขปัญหาให้กับตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม - ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาในสัปดาห์นี้ร่วมกัน : นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างในสัปดาห์นี้ - เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1 |
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคลิปวีดีโอที่ได้ดู
- ช่วยกันเพื่อตั้งชื่อหน่วยที่เป็นปัญหาและน่าเรียนรู้
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้ดูจากคลิป
- แบบทดสอบร่างกาย
- ภาพตกแต่งหน้าห้องเรียน - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่1 |
ความรู้
เข้า ใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบาย
พร้อมกับตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจและเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้
และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน
และสร้างสรรค์
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
|
โจทย์ : ออกแบบ/วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
-
นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “กินอย่างไรกายปลอดภัยใจเป็นสุข”
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “กินอย่างไรกายปลอดภัยใจเป็นสุข” - นักเรียนจะออกแบบ/วางแผน การเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share
- Mind Mapping - Show and Share - Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม :นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “กินอย่างไรกายปลอดภัยใจเป็นสุข” - ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับหน่วย “กินอย่างไรกายปลอดภัยใจเป็นสุข” : นักเรียนจะสรุปสิ่งที่รู้แล้วทั้งหมดของตนเองอย่างไร - นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนเป็นรายบุคคลผ่านเครื่องมือคิด (Mind Mapping) - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “กินอย่างไรกายปลอดภัยใจเป็นสุข” - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะออกแบบและวางแผนกิจกรรมจากสิ่งที่อยากเรียนรู้อย่างไร - ครูและนักเรียนออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
|
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ช่วยกันเพื่อออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ร่วมกัน
-
การทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ทำปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่2
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้
และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน
และสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์
พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
|
โจทย์ : การกำเนิด
Key Questions :
- นักเรียนเกิดขึ้นมาได้อย่างไร?
- ทำไมต้องมีการเกิด / สิ่งอื่นดำรงเผ่าพันธุ์หรือขยายพันธุ์อย่างไร?
- มนุษย์ พืช และสัตว์
แตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
- Internet
|
- ครูเปิดคลิป VDO การกำเนิดมนุษย์: นักเรียนเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
- นักเรียนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการกำเนิดของตนเองในรูปแบบของ Flowchart เป็นรายบุคคล - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำไมต้องมีการเกิด / สิ่งอื่นดำรงเผ่าพันธุ์หรือขยายพันธุ์อย่างไร/มนุษย์ พืช และสัตว์ แตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด - นักเรียนสรุปการดำรงเผ่าพันธุ์ของพืชและสัตว์ลงในตาราง - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม:สิ่งต่างๆรวมทั้งตัวเราเติบโตขึ้นได้อย่างไร? - ครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ : ปัจจัยที่ส่งผลให้เราเติบโตมีอะไรบ้าง แล้วสิ่งเหล่านั้นเข้าสู่ร่างกายของเราได้อย่างไร - ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต (ระบบหายใจ,ระบบย่อย,ระบบขับถ่ายและระบบต่อมต่างๆ) - นักเรียนหาข้อมูลเพิ่มเติมเป็นกลุ่มตามระบบทั้ง 4 กลุ่มละ 5-6 คน - ครูพานักเรียนทำการทดลองการคายน้ำของพืชโดยใช้ถุงพลาสติกครอบกิ่งของพืชที่มีใบ และไม่มีใบ จากนั้นมัดด้วยเชือกแล้วปล่อยทิ้งไว้ 30 นาที เพื่อสังเกตการคายน้ำของพืช :กิ่งที่มีใบกับกิ่งที่ไม่มีใบมีการคายน้ำเป็นอย่างไร/เพราะเหตุใด
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
|
ภาระงาน
- การดูคลิป VDO การกำเนิดมนุษย์
- การวิเคราะห์ปัจจัยในการเจริญเติบโตของคน,พืช,และสัตว์
- การศึกษาและวิเคราะห์ระบบหายใจ,ระบบย่อย,ระบบขับถ่ายและระบบต่อมต่างๆ
- ทำการทดลองการคายน้ำของพืช
ชิ้นงาน
- สรุปโครงสร้างทั้ง
4 ระบบ ของมนุษย์ พืชและสัตว์
- สรุปผลการทดลองการคายน้ำของพืช
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่3
|
ความรู้
เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์
พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์
พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
|
โจทย์ : โครงสร้างของร่างกายมนุษย์
Key Questions :
- มนุษย์ต้องการน้ำและอาหารไปเพื่ออะไร?
-
ระบบต่างๆในร่างกายมีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share - Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
- Internet
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่แล้วร่วมกันและกระตุ้นด้วยคำถามต่อ
:มนุษย์ต้องการน้ำและอาหารไปเพื่ออะไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเหตุผลของการต้องการน้ำและอาหารของมนุษย์ร่วมกัน แล้วครูเชิญนักเรียนที่นำเสนอมาช่วยเขียนบนกระดาน - นักเรียนจับสลากหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบต่างๆที่นำน้ำและอาหารไปใช้เช่น ระบบกล้ามเนื้อ,ระบบโครงกระดูก,ระบบประสาท,ระบบไหลเวียนเลือดและระบบต่อมไรท่อต่างๆ - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ระบบต่างๆในร่างกายมีความสัมพันธ์กันอย่างไร - นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ของระบบต่างๆในร่างกาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4
|
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนเหตุผลของการต้องการน้ำและอาหารของมนุษย์ร่วมกัน
- นำเสนอชาร์ตความรู้เกี่ยวกับระบบต่างๆ
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับระบบต่างๆ
- สรุปความสัมพันธ์ของระบบต่างๆในร่างกาย - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่4 |
ความรู้
เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์
พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจผลร้ายของโรคอ้วนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
และสามารถดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรคอ้วนได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
|
โจทย์ : ร่างกายบอกอะไร
Key Questions :
- ทำไมคนจึงป่วย?
- โรคอ้วนเกิดขึ้นได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Place Mat
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป VDO “เราอาจจะตายเพราะกิน”
- บรรยากาศในชั้นเรียน |
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำไมคนจึงป่วย
- นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนดูคลิป
VDO “เราอาจจะตายเพราะกิน”: นักเรียนเห็นอะไรบ้าง/รู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่ดู/แล้วนักเรียนจะทำอย่างไร
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป VDO ผ่านเครื่องมือคิด (Place Mat)
- ครูเปิดภาพรวมพลคนอ้วนแล้วใช้คำถามกระตุ้นการคิด: โรคอ้วนเกิดขึ้นได้อย่างไร
- นักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-
นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาโรคต่างๆที่เป็นผลพวงจากการเกิดโรคอ้วน
- นักเรียนนำเสนอชาร์ตโรคต่างๆที่เป็นผลพวงมาจากโรคอ้วน และหาวิธีการแก้ไขปัญหาร่วมกัน - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5 |
ภาระงาน
- ดูคลิป VDO “เราอาจจะตายเพราะกิน”
- การอภิปรายร่วมกัน
- การวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป
VDO
-
การศึกษาโรคต่างๆที่เป็นผลพวงจากการเกิดโรคอ้วน
-
การแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับผลพวงของโรคอ้วน
ชิ้นงาน
- Place Matวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป
VDO
- ชาร์ตโรคต่างๆที่เป็นผลพวงจากการเกิดโรคอ้วน
- บทบาทสมมุติเกี่ยวกับผลพวงของโรคอ้วน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่5
|
ความรู้
เข้าใจผลร้ายของโรคอ้วนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรคอ้วนได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจและสามารถอธิบายอาหารหลัก
5 หมู่ตลอดจนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6
|
โจทย์ : อาหารสุขภาพ Clean food
Key Questions :
- ทำไมต้องกินอาหาร?
- อาหารมีประโยชน์ต่อตัวเราอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
- ห้องครัวประถม
|
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำไมต้องกินอาหาร?/อาหารมีประโยชน์ต่อตัวเราอย่างไร
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด
(Round Robin)
- นักเรียนแบ่งเป็นห้ากลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารต่างๆตามที่จับสลากได้(อาหาร
5 หมู่)
- นักเรียนสรุปอาหารหลัก 5 หมู่ในรูปแบบของ
ชิ้นงานที่หลากหลายตามความถนัดของตนเองเช่น
Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
- ครูพานักเรียนทำการทดสอบสารอาหารอย่างง่าย - ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเพื่อสรุปผลการทดสอบสารอาหาร - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะประกอบอาหารที่มีคุณค่าให้กับตัวเองอย่างไร - ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการประกอบอาหารที่มีคุณค่าให้กับตัวเอง - ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มๆละ 5 คน เพื่อออกแบบและวางแผนการประกอบอาหารให้ตนเองรับประทานโดยคำนึงถึงคุณค่าทางสารอาหารที่ครบ 5 หมู่ตามที่ร่างกายต้องการ - ครูและนักเรียนสร้างข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ การเก็บและทำความสะอาดครัวหลังทำอาหารเสร็จก่อนไปประกอบอาหาร - นักเรียนประกอบอาหารตามที่ออกแบบและวางแผนร่วมกันมา - นักเรียนชิมรสชาติอาหารและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ทำร่วมกัน - นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6 |
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับทำไมต้องกินอาหาร?/อาหารมีประโยชน์ต่อตัวเราอย่างไร
- การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอาหารหลัก
5 หมู่
- การทดสอบสารอาหารอย่าง่าย
- การประกอบอาหารสุขภาพ
ชิ้นงาน
- สรุปอาหารหลัก 5 หมู่
- สรุปผลการทดลอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายอาหารหลัก 5 หมู่ตลอดจนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถออกและวางแผนการดูแลสุขภาวะของตนเองพร้อมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7
|
โจทย์ : สุขภาวะที่ดี
Key Question :
ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมีสุขภาวะที่ดี?
เครื่องมือคิด
- Card and Chart
- Mind Mapping
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมีสุขภาวะที่ดี
- ครูแจกกระดาษให้นักเรียนเขียนวิธีที่จะทำให้ตนเองมีสุขภาวะที่ดีผ่านเครื่องมือคิด (Card and Chart) - นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่ของวิธีการที่จะทำให้ตนเองมีสุขภาวะที่ดีเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะออกแบบ และวางแผนการดูแลสุขภาวะของเราอย่างไร - นักเรียนแลกเปลี่ยนวิธีการออกแบบและวางแผนการดูแลสุขภาวะร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด (Blackboard Share)
- นักเรียนออกแบบวางแผนการดูแลสุขภาวะของตนเองให้ได้ตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับช่วงวัย
(การกิน,การออกกำลังกาย,การพักผ่อนฯลฯ)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะดูแลร่างกายอย่างไรให้สะอาด?”
- นักเรียนศึกษาการอาบน้ำ, แปรงฟัน, และการทำความสะอาดร่างกายที่ถูกต้องตามหลักอนามัย
- นักเรียนซ้อมการแสดงเพื่อถ่ายทอดการดูแลร่างกายที่ถูกต้อง
- นักเรียนถ่ายทอดการดูแลร่างกายที่ถูกต้องผ่านบทบาทสมมุติ
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการแสดงบทบาทสมมุติและเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาต่อยอดกันและกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7
|
ภาระงาน
- ช่วยกันจัดหมวดหมู่ของวิธีการที่จะทำให้ตนเองมีสุขภาวะที่ดี
-
ออกแบบวางแผนการดูแลร่างกายให้ได้ตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- ถ่ายทอดการดูแลร่างกายที่ถูกต้องผ่านบทบาทสมมุติ
ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปวิธีการดูแลสุขภาวะของตนเอง
- แผนการดูแลสุขภาวะของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่7 |
ความรู้
นักเรียนสามารถออกและวางแผนการดูแลสุขภาวะของตนเองพร้อมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : รู้เท่าทันสื่อโฆษณา
และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อตัวเองได้
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
|
โจทย์ :
รู้เท่าทันสื่อโฆษณา(อาหาร)
Key Questions :
-
ฟิสซ่ามีประโยชน์ต่อร่างกายหรือไม?
- KFC มีประโยชน์และโทษต่อร่างกายของเราอย่างไร? - อาหารตามคลองถมปลอดภัยจึงหรือ/แล้วจะเลือกซื้ออย่างไรให้อันตรายน้อยที่สุด? - อาหารปลอดภัยเป็น อย่างไร/และอาหารที่ไม่ปลอดภัยดูอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- ชักเย่อความคิด
- Card and Chart - Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ฟิสซ่ามีประโยชน์ต่อร่างกายหรือไม
- ครูแจกกระดาษให้นักเรียนเพื่อเขียนแสดงความคิดของตนเองเกี่ยวกับซาฟิสซ่ามีประโยชน์ต่อร่างกายหรือไมผ่านเครื่องมือคิด (ชักเย่อความคิด) - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : KFC มีประโยชน์และโทษต่อร่างกายของเราอย่างไร? - ครูแจกกระดาษให้นักเรียนเขียนประโยชน์และโทษของ KFC ที่มีผลต่อร่างกายผ่านเครื่องมือคิด (Card and Chart)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : อาหารตามคลองถมปลอดภัยจึงหรือ/แล้วจะเลือกซื้ออย่างไรให้อันตรายน้อยที่สุด
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : อาหารปลอดภัยเป็น
อย่างไร/และอาหารที่ไม่ปลอดภัยดูอย่างไร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
8
|
ภาระงาน
- เขียนแสดงความคิดของตนเองเกี่ยวกับซาฟิสซ่ามีประโยชน์ต่อร่างกายหรือไม
- แสดงความคิดเห็นประโยชน์และโทษของ KFC ที่มีผลต่อร่างกาย
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับอาหารตามคลองถม
ชิ้นงาน
- สรุปวิธีการบริโภคอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่8 |
ความรู้
รู้เท่าทันสื่อโฆษณา
และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อตัวเองได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจและสามารถออกแบบวางแผนการถ่ายทอด
องค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ เป็นแรงบันดาลใจ
สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน คำถาม - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้? - นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร - นักเรียนทำ สิ่งใดได้ดี และต้องพัฒนาบ้างเพราะเหตุใด เครื่องมือคิด - Round Robin - Show and Share - Mind Mapping - Wall Thinking ชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ บรรยากาศนานห้องเรียน |
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : สิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter ที่ผ่านมามีอะไรบ้าง
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนเป็นรายบุคคล - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ตลอด Quarter ที่ผ่านมาสิ่งไหนบ้างที่นักเรียนทำได้สำเร็จ และสิ่งไหนบ้างที่ควรพัฒนาเพิ่มเติมต่อยอดต่อไป - นักเรียนประเมินตนเองเป็นรายบุคคลในรูปแบบของ Mind Mapping - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร - ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อเตรียมความพร้อม ในการสรุปนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ในรูปแบบของนิทรรศการ - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9 |
ภาระงาน
- เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนา - เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียน
ชิ้นงาน
- Mind Mapping การ์ตูนช่องหรือบรรยาย สรุปองค์ความรู้หลังเรียน - สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 9 |
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถออกแบบวางแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้
เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10-11
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน คำถาม - นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร - นักเรียนจะจัดและตกแต่งบรรยากาศห้องเรียนอย่างไร เครื่องมือคิด - Show and Share ชิ้นงาน - Wall Thinking ชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ บรรยากาศนานห้องเรียน |
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม :
นักเรียนจะจัดและตกแต่งบรรยากาศห้องเรียนอย่างไร/นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้
หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้
ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการจัดเตรียมสถานที่ - จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - เผยแพร่องค์ความรู้ ในรูปแบบของนิทรรศการ - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร - ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเผยแพร่องค์ความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ - นักเรียนเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ - ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาในสัปดาห์นี้ร่วมกัน : นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างในสัปดาห์นี้ - ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาตลอดทั้งสัปดาห์ - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10 |
ภาระงาน
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน - จัดนิทรรศการสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
ชิ้นงาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 10 |
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |